หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สินค้าของเรา
อลูซิงค์ (GL)
เหล็กเคลือบสี (PPGI)
เหล็กพิมพ์ลาย (PPGI)
อลูซิงค์ เกรดพรีเมี่ยม Diamond Premium
อลูซิงค์เกรดบี
เหล็กเคลือบสังกะสี (GI)
เหล็ก ZAM
เหล็กดำ หรือ เหล็ก SPHC
เหล็กขาว (CR) หรือ เหล็กแผ่นขาว
เหล็กเกรดบี
เหล็กซิงค์เทา (GA)
เหล็กซิงค์ฟ้า หรือ เหล็ก EG
เหล็กม้วนปิ๊กเกอร์ (P/O)
แป Purlin
ซีลาย C-Line
สังกะสี สลิท พร้อมรีด
จิงโจ้เหล็ก
บริการ
ตัดม้วน ตัดแผ่น
งานซอย
งานสลีท
การขนส่ง
โบรชัวร์
กิจกรรม
บทความ
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สินค้าของเรา
อลูซิงค์ (GL)
เหล็กเคลือบสี (PPGI)
เหล็กพิมพ์ลาย (PPGI)
อลูซิงค์ เกรดพรีเมี่ยม Diamond Premium
อลูซิงค์เกรดบี
เหล็กเคลือบสังกะสี (GI)
เหล็ก ZAM
เหล็กดำ หรือ เหล็ก SPHC
เหล็กขาว (CR) หรือ เหล็กแผ่นขาว
เหล็กเกรดบี
เหล็กซิงค์เทา (GA)
เหล็กซิงค์ฟ้า หรือ เหล็ก EG
เหล็กม้วนปิ๊กเกอร์ (P/O)
แป Purlin
ซีลาย C-Line
สังกะสี สลิท พร้อมรีด
จิงโจ้เหล็ก
บริการ
ตัดม้วน ตัดแผ่น
งานซอย
งานสลีท
การขนส่ง
โบรชัวร์
กิจกรรม
บทความ
ติดต่อเรา
094-789-6959
เคล็ดลับดีๆกับไทยทวีพรค้าเหล็ก เรื่อง ความหนาของ แผ่นเมทัลชีท ขนาดไหนเหมาะกับงานแบบใด
เคล็ดลับดีๆกับไทยทวีพรค้าเหล็ก เรื่องความหนาของ แผ่นเมทัลชีท ขนาดไหนเหมาะกับงานแบบใด
ความหนาของ แผ่นเมทัทชีทแต่ละขนาดจะเป็นตัวบอกน้ำหนักของแผ่นเมทัลชีท ซึ่งหมายถึงความแข็งแรง
ของแผ่นเมทัลชีทด้วย ตามทั้งตลาดแผ่นเมทัลชีทมีความหนาที่ 0.23 – 0.5 มิลลิเมตร เมื่อความหนามากขึ้น
ราคาก็จะมากตาม ดังนั้นเราควรเลือกความของ แผ่นเมทัทชีท ขนาดไหนเหมาะกับงาน
ความหนาของ แผ่นเมทัลชีท ที่เหมาะกับงานต่างๆ พอสรุปได้ ดังนี้
ความหนา 0.23-0.28 มิลลิเมตร
เหมาะกับ งานหลังคาขนาดเล็ก เช่น ที่พักอาศัยชั่วคราว
ความหนา 0.30-0.35 มิลลิเมตร
เหมาะกับ งานหลังคาและผนังขนาดเล็กที่มีระยะแปไม่เกิน 1.2 เมตร เช่น บ้านพักอาศัย
ความหนา 0.35-0.40 มิลลิเมตร
เหมาะกับ งานหลังคาขนาดกลางและงานผนังทั่วไป เช่น ต่อเติมบริเวณรอบบ้าน
โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดกลาง
ความหนา 0.40-0.47 มิลลิเมตร
เหมาะกับ งานหลังคาขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ที่มีระยะแปไม่เกิน 1.5 เมตร เช่น โรงงาน
หรืออาคารขนาดกลาง
ความหนา 0.47 มิลลิเมตรขึ้นไป
เหมาะกับ งานหลังคาขนาดใหญ่ที่มีระยะแปถึง 2.5 เมตร เช่น โรงงานหรืออาคารขนาดใหญ่
คลิกที่นี้เพื่อพิมพ์ข้อความระบบ
บทความที่เกี่ยวข้อง
แปหลังคา คืออะไร รู้จักแป 3 แบบสำหรับงานโครงสร้าง
เหล็ก คืออะไร ชนิดของเหล็กและลักษณะการใช้งาน
ฝ้าเพดานสวย ๆ ใครเป็นคนค้ำไว้? มาทำความรู้จัก “เหล็กซีลาย” กันเถอะ!
วิธีเลือกแผ่นหลังคาเมทัลชีท (Metal Sheet) ให้เหมาะสม